ฝ่ายทัณฑปฏิบัติ

ฝ่ายทัณฑปฏิบัติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการตรวจสอบและปฏิบัติให้เป็นไปตามหมายศาล จัดทำประวัติผู้ต้องขัง คำนวณวันพ้นโทษ ประสานเกี่ยวกับการย้ายผู้ต้องขังไปเรือนจำอื่น ดำเนินการเกี่ยวกับผู้ต้องขังเสียชีวิตในเรือนจำ ดำเนินการเกี่ยว กับการปล่อยตัวและการออกใบสุทธิหรือใบบริสุทธิ์แก่ผู้พ้นโทษ รับผิดชอบเกี่ยวกับการเลื่อน – ลด ชั้นผู้ต้องขัง การลดวันต้องโทษ จำคุก การพักการลงโทษ และการขอพระราชทาน อภัยโทษตามกฎหมาย และระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง รับผิดชอบในการวิเคราะห์ผู้ต้องขัง เพื่อกำหนดแนวทางในการบำบัดรักษา หรือการปฏิบัตต่อผู้ต้องขังตามความเหมาะสมเป็นรายบุคคล

ข่าวประชาสัมพันธ์ ฝ่ายทัณฑปฏิบัติ

วันที่ 5 กรกฎาคม 2567 ศาลจังหวัดสุพรรณบุรี จัดโครงการ กำลังใจให้คุณ
ก้าวต่อไปอย่างมีหวัง บรรยายสิทธิและเสรีภาพตามกฎหมายภายในเรือนจำจังหวัดสุพรรณบุรี โดยมีนางอรนุช วิริยพันธ์ ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลจังหวัดสุพรรณบุรี           และนายปรมัตถ์สุวรรณเสรี ผู้พิพากษาศาลจังหวัดสุพรรณบุรี ให้เกียรติเป็นวิทยากร    ให้ความรู้แก่ผู้ต้องขังซึ่งมีนักโทษระหว่างฯ เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน ๘๕ คน

วันที่ 26 มิถุนายน 2567 พ.ต.ท.ชินโชติ พุฒิวรรธธาคา ผู้บัญชาการเรือนจำจังหวัด
สุพรรณบุรี เป็นประธานคณะทำงานเพื่อพิจารณาวินิจฉัจฉัยพักการลงโทษและลดวันต้องโทษจำคกโดยมีนักโทษเด็ดขาดที่เข้าเกณฑ์การพักการลงโทษกรณีปกติ จำนวน ๑ ราย และลดวันต้องโทษจำคุก จำนวน ๓ ราย รวมทั้งสิ้น ๔ ราย ร่วมกับคณะทำงานจากหน่วยงานภายนอก โดยมีผู้แสนจาก กรมการปกครอง , สนง.คุมประพฤติ, สนง.ตำรวจแห่งชาติ , และ สนง.ป.ป.ส ภาค ๗ เข้าร่วมเป็นคณะทำงางานในการพิจารณา ครั้งที่๖/๒๕๖๗

วันที่ 7 มิถุนายน 2567 พ.ต.ท.ชินโชติ พุฒิวรรธธาดา ผู้บัญชาการเรือนจำจังหวัดสุพรรณบุรี มอบหมายให้ นายบุญหลง แก้วทองคำ หัวหน้างานทัณฑปฏิบัติ เข้าร่วมจัดรายการวิทยุชื่อรายการ” ยุติธรรมสร้างสุข ” ซึ่งจะออกอากาศในวันเสาร์ที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๖๗ เวลา ๑๗.๓๐ – ๑๘.๐๐ น.

วันที่ 31 พฤษภาคม 2567 พ.ต.ท.ชินโชติ พุฒิวรรธธาคา ผู้บัญชาการเรือนจำจังหวัด
สุพรรณบุรี เป็นประธานคณะทำงานเพื่อพิจารณาวินิจฉัจฉัยพักการลงโทษและลดวันต้องโทษจำคกโดยมีนักโทษเด็ดขาดที่เข้าเกณฑ์การพักการลงโทษกรณีปกติ จำนวน ๓ ราย และลดวันต้องโทษจำคุก จำนวน ณ ๑๑ ราย รวมทั้งสิ้น ๑๔ ราย ร่วมกับคณะทำงานจากหน่วยงานภายนอก โดยมีผู้แทนจาก กรมการปกครอง , สนง.คุมประพฤติ , สนง.ตำรวจแม่ชาติ , และ สนง.ป.ป.ส ภาค ๗ เข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการพิจารณา ครั้งที่ ๕/๒๕๖๗

วันที่ 29 พฤษภาคม 2567 พ.ต.ท.ชินโชติ พุฒิวรรธธาดา ผู้บัญชาการเรือนจำจังหวัดสุพรรณบุรี มอบหมายให้ ฝ่ายทัณฑปฏิบัติ ส่วนทัณฑปฏิบัติ ดำเนินการคัดย้ายนักโทษเด็ดขาดไปอยู่ประจำเรือนจำชั่วคราวลาดสามร้อย ซึ่งมีนักโทษเด็ดขาดเข้ารับการพิจารณาจำนวน ๒๓ คน ผ่านการพิจารณา จำนวน ๒๐ คน ไม่ผ่านการพิจารณา จำนวน ๓ คน.

วันที่ 14 พฤษภาคม 2567 พันตำรวจโทชินโชติ พุฒิวรรรธธาดาผู้บัญชาการเรือนจำจังหวัดสุพรรณบุรี เป็นประธานคณะทำงานเพื่อพิจารณาเลื่อนชั้นนักโทษเด็ดขาด
โดยมีนักโทษเด็ดขาดที่เข้าเกณฑ์การเลื่อนชั้น จำนวน ๔๘๖ ราย ร่วมกับคณะทำงานจากหน่วยงานภายนอกโดยมีผู้แทนจาก สนง.คุมประพฤติ , สนง.ตำรวจแห่งชาติ , และ สนง.อัยการจังหวัดสุพรรณบุรี เข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการพิจารณา ครั้งที่ ๑/๒๕๖๗ งวดเดือน เมษายน กำหนดโทษต่ำ ๓ ปี และมีคดีเดียว

วันที่ 7 พฤษภาคม 2567 พันตำรวจโทชินโชติ พุฒิวรรธธาดา ผู้บัญชาการเรือนจำจังหวัดสุพรรณบุรี มอบหมายให้นายสราวุฒิ ผุดผ่องพรรณ ผู้อำนวยการส่วนทัณฑปฏิบัติ พร้อมด้วยหัวหน้าส่วนราชการของหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมจังหวัดสุพรรณบุรี พร้อมคณะร่วมแสดงความยินยินดีที่นางอรนุช วิริยพันธ์ มารับตำแหน่งผู้พิพากษาหัวหน้าศาลจังหวัดสุพรรณบุรี และปรึกษาหารือข้อราชการ ณ ห้องประชุมศาลจังหวัตสุพรรรณบุรี อำเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี.

วันที่ 30 เมษายน 2567 พันตำรวจโทชินโชติ พุฒิวรรธธาคา ผู้บัญชาการเรือนจำจังหวัด
สุพรรณบุรี เป็นประธานคณะทำงานเพื่อพิจารณาวินิจฉัจฉัยพักการลงโทษและลดวันต้องโทษจำคกโดยมีนักโทษเด็ดขาดที่เข้าเกณฑ์การพักการลงโทษกรณีปกติ จำนวน ๕ ราย และลดวันต้องโทษจำคุก จำนวน ๗ ราย รวมทั้งสิ้น ๑๒ ราย ร่วมกับคณะทำงานจากหน่วยงานภายนอก โดยมีผู้แทนจาก กรมการปกครอง, สนง.คุมประพฤติ , สนง.ตำรวจแห่งชาติ , และ สนธ.ป.ป.ส ภาค ๗ เข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการพิจารณา ครั้งที่ ๔/๒๕๖๗

วันที่ 24 เมษายน 2567 พันตำรวจโทชินโชติ พุฒิวรรรธธาดา ผู้บัญชาการเรือนจำ
จังหวัดสุพรรณบุรี และคณะกรรมการฯ ร่วมกันพิจารณาคัดย้ายนักโทษเด็ดขาดไปคุมขังยังเรือนจำชั่วคราวลาดสามร้อย สังกัดเรือนจำจังหวัดสุพรรณบุรี มีนักโทษเด็ดขาดเข้ารับการพิจารณาจำนวน ๔๐ คน โดยผ่านการคัดเลือกตามคุณสมบัติหลักเกณฑ์การย้ายฯ จำนวน ๓๒ คน

วันที่ 24 เมษายน 2567 พันตำรวจโทชินโชติ พุณิวรรรธธาดา ผู้บัญชาการเรือนจำจังหวัดสุพรรณบุรี ได้มอบหมายให้ นายสราวุฒิ ผุดผ่องพรรณ ผู้อำนวยการส่วนทัณฑ์ฯ สวัสดีท่านผู้พิพากษาหัวหน้าศาลแขวงสุพรรณบุรี และท่านผู้พิพากษาหัวหน้าศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดสุพรรณบุรี เนื่องในเทศกาลสงกรานต์ วันส่งท้ายปีเก่า ต้อนรับปีใหม่ พ.ศ. ๒๕๖๗ ณ.ที่ทำการศาล

วันที่ 23 เมษายน 2567 ส่วนทัณฑปฏิบัติ ดำเนินการปล่อยตัวพักการลงโทษกรณีปกติ จำนวน ๑ ราย (ชาย = ๑ ราย) โดยก่อนปล่อยตัวได้ดำเนินการตามขั้นตอนแนวทางการป้องกันควบคุม การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID ๑๙) และอบรมชี้แจงเงื่อนไขการคุมประพฤติ พร้อมนำตัวไปติดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกนิกส์ติดตามตัว (EM) ที่สำนักงานคุมประพฤติจังหวัดสุพรรณบุรีเรียบร้อยแล้ว

วันที่ 11 เมษายน 2567 ส่วนทัณฑปฏิบัติ ดำเนินการปล่อยตัวพักการลงโทษกรณีปกติ จำนวน ๑ ราย (ชาย = ๑ ราย) โดยก่อนปล่อยตัวได้ดำเนินการตามขั้นตอนแนวทางการป้องกันควบคุม การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID ๑๙) และอบรมชี้แจงเงื่อนไขการคุมประพฤติ พร้อมนำตัวไปติดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกนิกส์ติดตามตัว (EM) ที่สำนักงานคุมประพฤติจังหวัดสุพรรณบุรีเรียบร้อยแล้ว

วันที่ 28 มีนาคม 2567 พันตำรวจโทชินโชติ พุฒิวรรธธาดา ผู้บัญชาการเรือนจำจังหวัดสุพรรณบุรี เป็นประธานคณะทำงานเพื่อพิจารณาวินิจฉัยพักการลงโทษและลดวันต้องโทษจำคุกโดยมีนักโทษเด็ดขาดที่เข้าเกณฑ์การพักการลงโทษกรณีปกติ จำนวน ๖ ราย และลดวันต้องโทษจำคุก จำนวน ๑๔ รายรวมทั้งสิ้น ๒๐ ราย ร่วมกับคณะทำงานจากหน่วยงานภายนอก โดยมีผู้แทนจาก กรมการปกครอง , สนง.คุมประพฤติ , สนง.ตำรวจแห่งชาติ , และ สนง.ป.ป.ส ภาค ๗ เข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการพิจารณา

วันที่ 29 มีนาคม 2567 พ.ต.ท.ชินโซติ พุฒิวรรธราดา ผู้บัญชาการเรือนจำจังหวัดสุพรรณบุรี มอบหมายให้ นายบุญหลง แก้วทองคำ เข้าร่วมจัดรายการวิทยุชื่อรายการ” ยุติธรรมสร้างสุข ” ซึ่งจะออกอากาศในวันเสาร์ที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๖๗ เวลา ๑๗.๓๐ – ๑๘.๐๐ น.

วันที่ 13 มีนาคม 2567 ฝ่ายทัณฑปฏิบัติดำเนินการเนินการปล่อยตัวพักการลงโทษกรณีปกติ ที่ได้รับการอนุมัติจากกรมราชทัณฑ์ฯ จำนวน ๖ ราย (ชาย ๔ คน หญิง ๒คน) และได้ดำเนินการส่งตัวติดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัว (EM) พร้อมทั้งนี้ได้ซี้แจงเงื่อนไขการคุมประพฤติให้ทราบและถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด

วันที่ 22 มีนาคม 2567 พ.ต.ท.ชินโชติ พุฒิวรรธธาดา ผู้บัญชาการเรือนจำจังหวัดสุพรรณบุรี มอบหมายให้ฝ่ายทัณฑปฏิบัติ ส่วนทัณฑปฏิบัติ ดำเนินการปล่อยตัวลดวันต้องโทษจำคุก จากการออกทำงนสาธารณะนอกเรือนจำฯ จำนวน ๒ ราย เป็นนักโทษเด็ดขาดจากเรือนจำชั่วคราวลาดสามร้อย ที่ได้รับการอนุมัติจากกรมราชทัณฑ์

วันที่ 22 ธันวาคม 2566 พันตำรวจโทชินโชติ พุฒิวรรธธาดา ผู้บัญชาการเรือนจำ
จังหวัดสุพรรณบุรี และคณะกรรมการฯ ร่วมกันพิจารณาคัดย้ายนักโทษเด็ดขาดไปคุมขังยัง
เรือนจำชั่วคราวลาดสามร้อย สังกัดเรือนจำจังหวัดสุพรรณบุรี มีนักโทษเด็ดขาดเข้ารับการ
พิจารณา จำนวน ๒๕ คน โดยผ่านการคัดเลือกตามคุณสมบัติหลักเกณฑ์การย้ายฯ จำนวน ๑๕ คน

วันที่ 15 ธันวาคม 2566 พ.ต.ท.ชินโชติ พุฒิวรรธธาดา
ผู้บัญชาการเรือนจำจังหวัดสุพรรณบุรีมอบหมายให้นายบุญหลง แก้วทองคำ
เข้าร่วมจัดรายการวิทยุชื่อรายการ ” ยุติธรรมสร้างสุข ” ซึ่งจะออกอากาศ
ในวันเสาร์ที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๖๖ เวลา ๑๗.๓๐ – ๑๘.๐๐ น.

วันที่ 14 ธันวาคม 2566 ฝ่ายทัณฑปฏิบัติ ดำเนินการปล่อยตัวพักการลงโทษกรณีปกติ จำนวน ๑๓ ราย (ชาย = ๙ ราย หญิง ๔ ราย โดยก่อนปล่อยตัวได้ดำเนินการตามชั้นตอนแนวทางการป้องกันควบคุม การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID๑๙) และอบรมชี้แจงเงื่อนไขการคุมประพฤติ พร้อมนำตัวไปติดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัว (EM) ที่สำนักงานคุมประพฤติจังหวัดสุพรรณบุรี

วันที่ 12 ธันวาคม 2566 พันตำรวจโทชินโชติ พุฒิวรรธธาดา ผู้บัญชาการเรือนจำจังหวัดสุพรรณบุรี เป็นประธานคณะทำงานเพื่อพิจารณาวินิจฉัยพักการลงโทษและลดวันต้องโทษจำคุกโดยมีนักโทษเด็ดขาดที่เข้าเกณฑ์การพักการลงโทษกรณีปกติ จำนวน ๑๖ ราย และลดวันต้องโทษจำคุกจำนวน ๒๐ ราย รวมทั้งสิ้น ๓๖ ราย ร่วมกับคณะทำงานจากหน่วยงานภายนอก โดยมีผู้แทนจากกรมการปกครอง , สนง.คุมประพฤติ , สนง.ตำรวจแห่งชาติ , และ สนง.ป.ป.ส ภาค ๗ เข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการพิจารณา ครั้งที่ ๑๒/๒๕๖๖

วันที่ 8 ธันวาคม 2566 ฝ่ายทัณฑปฏิบัติ ดำเนินการปล่อยตัวลดวันต้องโทษจำคุกตามหนังสือกรมราชทัณฑ์ด่วนที่สุดฯ เป็นนักโทษเด็ดขาดหญิง จำนวน 1 ราย โดยได้อบรมชี้แจงเงื่อนไขการคุมประพฤติ ติดกำไล EM และได้นำตัวไปรายงานตัวที่สำนักงานคุมประพฤติจังหวัดสุพรรณบุรี

วันที่ 26 ตุลาคม 2566 พันตำรวจโทชินโชติ พุฒิวรรธธาดา ผู้บัญชาการเรือนจำจังหวัดสุพรรณบุรี เป็นประธานคณะทำงานเพื่อพิจารณาวินิจฉัยพักการลงโทษและลดวันต้องโทษจำคุกโดยมีนักโทษเด็ดขาดที่เข้าเกณฑ์การพักการลงโทษกรณีปกติ จำนวน ๗ ราย และลดวันต้องโทษจำคุกจำนวน ๑๔ ราย รวมทั้งสิ้น ๒๐ ราย ร่วมกับคณะทำงานจากหน่วยงานภายนอก โดยมีผู้แทนจากกรมการปกครอง , สนง.คุมประพฤติ , สนง.ตำรวจแห่งชาติ , และ สนง.ป.ป.ส ภาค ๗ เข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการพิจารณา ครั้งที่ ๑๑/๒๕๖๖

วันที่ 28 กันยายน 2566 พันตำรวจโทชินโชติ พุฒิวรรธธาดา      ผู้บัญชาการเรือนจำจังหวัดสุพรรณบุรี มอบหมายให้นายบุญหลง แก้วทองคำ เข้าร่วมจัดรายการวิทยุชื่อรายการ “ยุติธรรมสร้างสุข” ซึ่งจะออกอากาศในวันเสาร์ที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๖

วันที่ 28 กันยายน 2566 พันตำรวจโทชินโชติ พุฒิวรรธธาดา ผู้บัญชาการเรือนจำจังหวัดสุพรรณบุรี เป็นประธานคณะทำงานเพื่อพิจารณาวินิจฉัยพักการลงโทษและลดวันต้องโทษจำคุกโดยมีนักโทษเด็ดขาดที่เข้าเกณฑ์การพักการลงโทษกรณีปกติ จำนวน ๑๐ ราย และลดวันต้องโทษจำคุกจำนวน ๑๑ ราย รวมทั้งสิ้น ๒๑ ราย ร่วมกับคณะทำงานจากหน่วยงานภายนอก โดยมีผู้แทนจากกรมการปกครอง , สนง.คุมประพฤติ , สนง.ตำรวจแห่งชาติ , และ สนง.ป.ป.ส ภาค ๗ เข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการพิจารณา ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๖

วันที่ 28 กันยายน 2566 พันตำรวจโทชินโชติ พุฒิวรรธธาดา ผู้บัญชาการเรือนจำจังหวัดสุพรรณบุรี ได้อบรมผู้ต้องชังที่ได้รับการปล่อยตัวพักการลงโทษและมอบหมายให้ฝ่าย/ส่วนทัณฑปฏิบัติ ดำเนินการปล่อยตัวพักการลงโหษกรณีปกติ จำนวน ๘ ราย (ชาย = ๖ ราย หญิง ๒ ราย ) โดยก่อนปล่อยตัวได้ดำเนินการตามขั้นตอนแนวทางการป้องกันควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID ๑๙) และอบรมชี้แจงเงื่อนไขการคุมประพฤติ พร้อมนำตัวไปติดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัว (EM) ที่สำนักงานคุมประพฤติจังหวัดสุพรรณบุรีเรียบร้อยแล้ว

กรมราชทัณฑ์ มีนโยบายให้เรือนจำและทัณฑสถานทั่วประเทศ จัดงานเยี่ยมญาติใกล้ชิดประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๖ เนื่องในโอกาสวันแม่แห่งชาติ “สานสายใยรักเฉลิมพระเกียรติ ๙๑ พรรษา” โดยพันตำรวจโทชินโชติ พุผิวรรธธาดา ผู้บัญชาการเรือนจำจังหวัดสุพรรณบุรี ได้ดำเนินการจัดงานเยี่ยมญาติใกล้ชิดประจำปี พ.ศ.๒๕๖๖              ครั้งที่ ๑/๒๕๖๖ ตั้งแต่วันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๖๖ ถึงวันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๖๖มีผู้ต้องขังเข้ารับการเยี่ยมญาติทั้งหมด ๓๗๕ คน (ชาย ๓๑๒ คน, หญิง ๖๓ คน) และมีญาติเข้าเยี่ยมญาติทั้งหมด ๑,๑๖๖ คน

วันที่ 22 กันยายน 2566 ฝ่ายทัณฑปฏิบัติ ดำเนินการประชุมการเลื่อนชั้นนักโทษเด็ดขาด (กำหนดโทษต่ำกว่า 3 ปีและมีคดีเดียว)  งวดเดือนสิงหาคม 2566

วันที่ 21 กันยายน 2566 ฝ่ายทัณฑปฏิบัติดำเนินการปล่อยตัวลดวันต้องโทษจำคุก จากการออกทำงานสาธารณะนอกเรือนจำเรือนจำชั่วคราวลาดสามร้อย ตามหนังสือกรมราชทัณฑ์ด่วนที่สุดฯ เป็นนักโทษเด็ดขาดชาย 1 ราย โดยได้อบรมชี้แจงเงื่อนไขการคุมประพฤติ ติดกำไล EM รายงานตัวสำนักงานคุมประพฤติสุพรรณบุรี เรียบร้อยแล้ว

วันที่ 3 กันยายน 2566 เรือนจำจังหวัดสุพรรณบุรี พันตำรวจโทชินโชติ พุฒิวรรธธาดา
ผู้บัญชาการเรือนจำจังหวัดสุพรรณบุรี ได้อบรมผู้ต้องขังที่ได้รับการปล่อยตัวพักการลงโทษและมอบหมายให้ฝ่าย/ส่วนทัณฑปฏิบัติ ดำเนินการปล่อยตัวพักการลงโทษกรณีปกติ จำนวน 17 ราย (ชาย = 14 ราย หญิง 3 ราย โดยก่อนปล่อยตัวได้ดำเนินการตามขั้นตอนแนวทางการป้องกันควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID๑๙) และอบรมชี้แจงเงื่อนไขการคุมประพฤติ พร้อมนำตัวไปติดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกสติดตามตัว (EM) ที่สำนักงานคุมประพฤติจังหวัดสุพรรณบุรีเรียบร้อยแล้ว

วันที่ 9 สิงหาคม 2566 พันตำรวจโทชินโชติ พุฒิวรรธธาดา ผู้บัญชาการเรือนจำจังหวัดสุพรรณบุรี  ได้อบรมผู้ต้องชังที่ได้รับการปล่อยตัวพักการลงโทษ และมอบหมายให้ฝ่าย/ส่วนทัณฑปฏิบัติ ดำเนินการปล่อยตัวพักการลงโทษกรณีปกติ จำนวน ๑๙ ราย (ชาย ๑๓ ราย หญิง ๖ ราย ) โดยก่อนปล่อยตัวได้ดำเนินการตามขั้นตอนแนวทางการป้องกันควบคุมการแพร่ระบาดของโรคคิดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID ๑๙) แลอบรมชี้แจงเงื่อนไขการคุมประพฤติ พร้อมนำตัวไปติดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัว (EM) ที่สำนักงานคุมประพฤติจังหวัดสุพรรณบุรี 

วันที่ 9 สิงหาคม 2566 ศาลจังหวัดสุพรรณบุรี จัดกิจกรรมบรรยายกฎหมายภายในเรือนจำ ในหัวข้อ” การคุมครองสิทธิและเสรีภาพในคดีอาญาแก่ผู้ต้องขังเรือนจำจังหวัดสุพรรณบุรี ” โดยท่านผู้พิพากษาหัวหน้าศาลจังหวัดสุพรรณบุรี ให้เกียรติเป็นวิทยากร      ให้ความรู้แก่ผู้ต้องขัง ซึ่งมีนักโทษระหว่างฯ เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน ๑๐๕ คน

วันที่ 8 สิงหาคม 2566 พันตำรวจโทชินโชติ พุฒิวรรธธาดา ผู้บัญชาการเรือนจำจังหวัดสุพรรณบุรีและคณะกรรมการฯ ร่วมกันพิจารณาคัดย้ายนักโทษเด็ดขาดไปคุมขังยัง   เรือนจำชั่วคราวลาดสามร้อยสังกัดเรือนจำจังหวัดสุพรรณบุรี มีนักโทษเด็ดขาดเข้ารับการพิจารณา จำนวน ๒๙ คน โดยผ่านการคัดเลือกตามคุณสมบัติหลักเกณฑ์การย้ายฯ จำนวน ๒๕ คน

วันที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๖๖ พันตำรวจโทชินโชติ พุฒิวรรธราดา ผู้บัญชาการเรือนจำจังหวัดสุพรรณบุรี เป็นประธานคณะทำงานเพื่อพิจารณาวินิจฉัยพักการลงโทษและลดวันต้องโทษจำคุกโดยมีนักโทษเด็ดขาดที่เข้าเกณฑ์การพักการลงโทษกรณีปกติ      จำนวน ๒๒ ราย และลดวันต้องโทษจำคุกจำนวน ๘ ราย รวมทั้งสิ้น ๓๐ ราย ร่วมกับ    คณะทำงานจากหน่วยงานภายนอก โดยมีผู้แทนจากกรมการปกครอง,สนง.คุมประพฤติ สนง.ตำรวจแห่งชาติ , และ สนง.ป.ป.ส ภาค ๗ เข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการพิจารณา    ครั้งที่๘/๒๕๖๖

วันที่ 18 กรกฎาคม 2566 ฝ่ายทัณฑปฏิบัติ ดำเนินการประชุมการเลื่อนชั้นนักโทษเด็ดขาด (กำหนดโทษเกิน 3 ปี หรือมีหลายคดี)  งวดเดือนมิถุนายน 2566

วันที่ 11 กรกฎาคม 2566 พันตำรวจโทชินโชติ พุฒิวรรธธาดา ผู้บัญชาการเรือนจำจังหวัดสุพรรณรี ได้อบรมผู้ต้องขังที่ได้รับการปล่อยตัวพักการลงโทษ และมอบหมายให้ฝ่าย/ส่วนทัณฑปฏิบัติ ดำเนินการปล่อยตัวพักการลงโทษกรณีปกติ จำนวน ๗ ราย (ชาย = ๕ ราย หญิง ๓ ราย ) โดยก่อนปล่อยตัวได้ดำเนินการตามขั้นตอนแนวทางการป้องกันควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID ๑๕) และอบรมชี้แจงเงื่อนไขการคุมประพฤติเป็นที่เรียบร้อย

วันที่ 30 มิถุนายน 2566 ฝ่ายทัณฑปฏิบัติดำเนินการล่อยตัวลดวันต้องโทษจำคุกตามหนังสือกรมราชทัณฑ์ด่วนที่สุดฯ เป็นนักโทษเดีดขาดชาย 3 ราย (เพิ่มเติม) โดยได้อบรมชี้แจงเงื่อนไขการคุมประพฤติ และนำตัวไปสำนักงานคุมประพฤติจังหวัดสุพรรณบุรี    เพื่อติดกำไล EM และรายงานตัว เรียบร้อยแล้ว

วันที่ 26 มิถุนายน 2566 ฝ่ายทัณฑปฏิบัติดำเนินการปล่อยตัวลดวันต้องโทษจำคุก
ตามหนังสือกรมราชทัณฑ์ด่วนที่สุดฯ เป็นนักโทษเด็ดขาดชาย 8 ราย โดยได้อบรมชี้แจง
เงื่อนไขการคุมประพฤติ และนำตัวไปรายงานตัว ติดกำไล EM ที่สำนักงานคุมประพฤติ
จังหวัดสุพรรณบุรี

วันที่ 23 มิถุนายน 2566 พ.ต.ท.ชินโชติ พุฒิวรรรราดา ผู้บัญชาการเรือนจำจังหวัดสุพรรณบุรี มอบหมายให้นายบุญหลง แก้วทองคำ เจ้าพนักงานราชทัณฑ์ชำนาญงาน 
เข้าร่วมจัดรายการวิทยุชื่อรายการ “ยุติธรรมสร้างสุข” ซึ่งจะออกอากาศในวันเสาร์ที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๖๖ เวลา ๑๗.๓๐-๑๘.๐๐ น.

วันที่ 22 มิถุนายน 2566 ฝ่ายทัณฑปฏิบัติดำเนินการอบรมชี้แจงประชาสัมพันธ์ หลักเกณฑ์ เงื่อนไข สิทธิประโยชน์ในการทำพักการลงโทษลดวันต้องโทษจำคุกและลดวันต้องโทษจำคุกจากการออกทำงานสาธารณะนอกเรือนจำ การประพฤติตนในขณะฝึก
วิชาชีพที่เรือนจำชั่วคราวลาดสามร้อย และเงื่อนไขการปล่อยตัวคุมประพฤติ เพื่อให้นักโทษเด็ดขาดทราบและประพฤติตนให้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขต่อไป

วันที่ 22 มิถุนายน 2566 ฝ่ายทัณฑปฏิบัติดำเนินการล่อยตัวลดวันต้องโทษจำคุก
จากการออกทำงานสาธารณะนอกเรือนจำเรือนจำชั่วคราวลาดสามร้อย ตามหนังสือ
กรมราชทัณฑ์ด่วนที่สุดฯ เป็นนักโทษเด็ดขาดชาย 4 ราย โดยได้อบรมชี้แจงเงื่อนไข
การคุมประพฤติ ติดกำไล EM รายงานตัวสำนักงานคุมประพฤติสุพรรณบุรี 

วันที่ 22 มิถุนายน 2566 ฝ่ายทัณฑปฏิบัติดำเนินการพิจารณาวินิจฉัยพักการลงโทษและลดวันต้องโทษจำคุก โดยมีนักโทษเด็ดขาดที่เข้าเกณฑ์การพักการลงโทษกรณีปกติ จำนวน ๒๑ ราย และลดวันต้องโทษจำคุกจำนวน ๙ ราย รวมทั้งสิ้น ๓ . ราย ร่วมกับคณะทำงานจากหน่วยงานภายนอก โดยมีผู้แหนจากกรมการปกครอง , สนง.คุมประพฤติ , สนง.ตำรวจแห่งชาติ , และ สนง.ป.ป.ส ภาค ๗ เข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการพิจารณา ครั้งที่ ๗/๒๕๖๖

วันที่ 13 มิถุนายน 2566 ฝ่ายทัณฑปฏิบัติปล่อยตัวพักการลงโทษกรณีปกติ จำนวน ๑๑ ราย ( ชาย = ๑o ราย หญิง ๔ ราย ) โดยก่อนปล่อยตัวได้ดำเนินการตามขั้นตอนและแนวทางการป้องกันควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID๑๙) และอบรมชี้แจงเงื่อนไขการคุมประพฤติให้ได้ทราบและให้ปฏิบัติอย่างเคร่งครัด พร้อมนำไปติดอุปกรณ์ฮิเลกทรอนิคส์(EM) ณ สำนักงานคุมประพฤติจังหวัดสุพรรณบุรี

วันที่ 1 มิถุนายน 2566 ผู้บัญชาการเรือนจำจังหวัดสุพรรณบุรีและคณะกรรมการฯ ร่วมกันพิจารณาคัดย้ายนักโทษเด็ดขาดไปคุมขังยังเรือนจำชั่วคราวลาดสามร้อยสังกัดเรือนจำจังหวัดสุพรรณบุรี มีนักโทษเด็ดขาดเข้ารับการพิจารณา จำนวน ๕๑ คน โดยผ่านการคัดเลือกตามคุณสมบัติหลักเกณฑ์การย้ายฯ จำนวน ๔๕ คน

วันที่ 27 พฤษภาคม 2566 ฝ่ายทัณฑปฏิบัติ ดำเนินการปล่อยตัวลดวันต้องโทษจำคุกจากการออกทำงานสาธารณะนอกเรือนจำฯ เรือนจำชั่วคราวลาดสามร้อย ตามหนังสือ      กรมราชทัณฑ์ด่วนที่สุดฯ เป็นนักโทษเด็ดขาดชาย 1 ราย โดยได้อบรมชี้แจงเงื่อนไขการคุมประพฤติการติดกำไล EM เรียบร้อยแล้ว

วันที่ 19 พฤษภาคม 2566 ฝ่ายทัณฑปฏิบัติ ดำเนินการประชุมการเลื่อนชั้นนักโทษเด็ดขาด (กำหนดโทษต่ำกว่า 3 ปี หรือมีคดีเดียว)  งวดเดือนเมษายน 2566 

วันที่ 28 เมษายน 2566 ฝ่ายทัณฑปฏิบัติ ดำเนินการปล่อยตัวลดวันต้องโทษจำคุก
ตามหนังสือกรมราชทัณฑ์ด่วนที่สุดฯ เป็นนักโทษเด็ดขาดชาย 1 รายหญิง 1 ราย      รวม 2 ราย โดยได้อบรมชี้แจงเงื่อนไขการคุมป ระพฤติ และนำตัวส่งสำนักงานคุมประพฤติจังหวัดสุพรรณบุรี เพื่อรายงานตัวและติดกำไล EM เรียบร้อยแล้ว

วันพฤหัสบดีที่ ๒๗ เมษายน ๒๕๖๖ พันตำรวจโทชินโชติ พุฒิวรรธธาดา ผู้บัญชาการเรือนจำจังหวัดสุพรรณบุรี เป็นประธานคณะทำงานเพื่อพิจารณาวินิจฉัยพักการลงโทษและลดวันต้องโทษจำคุกประจำเรือนจำ โดยมีนักทษเด็ดขาดที่เข้าเกณฑ์การพักการลงโทษกรณีปกติ จำนวน ๑๒ ราย และลดวันต้องโทษจำคุก จำนวน ๑๒ ราย รวมทั้งสิ้น ๒๔ ราย (ชาย = ๒๑ ราย , หญิง = ๓ ราย ) ร่วมกับคณะทำงานจากหน่วยงานภายนอก โดยมีผู้แทนจากกรมการปกครอง , สนง.คุมประพฤติ , สนง.ตำรวจแห่งชาติ , และสนง.ป.ป.ส ภาค ๗ เข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการพิจารณา ครั้งที่ ๕/๒๕๖๖

วันที่ 25 เมษายน 2566 ฝ่ายทัณฑปฏิบัติดำเนินการปล่อยตัวพักการลงโทษกรณีปกติ จำนวน 1 ราย(ปล่อยเพิ่มเติม) ( ชาย = ๑ ราย ) โดยก่อนปล่อยตัวได้ดำเนินการตามขั้นตอนและแนวทางการป้องกันควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID๑๙) และอบรมชี้แจงเงื่อนไขการคุมประพฤติให้ได้ทราบและให้ปฏิบัติอย่างเคร่งครัด พร้อมนำตัวไปติดอุปกรณ์ฮิเลกทรอนิคส์(EM) ณ ลำนักงานคุมประพฤติจังหวัดสุพรรณบุรี

วันที่ 25 เมษายน 2566 ฝ่ายทัณฑปฏิบัติ ดำเนินการปล่อยตัวลดวันต้องโทษจำคุก
ตามหนังสือกรมราชทัณฑ์ด่วนที่สุดฯ เป็นนักโทษเด็ดขาดชาย 7 ราย โดยได้อบรมชี้แจงเงื่อนไขการคุมประพฤติ พร้อมนำตัวไปรายงานตัวและติดกำไล EM ที่สำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดสุพรรณบุรี

วันที่ 10 เมษายน 2566 ฝ่ายทัณฑปฏิบัติ ดำเนินการปล่อยตัวพักการลงโทษกรณีปกติ จำนวน 5 ราย โดยก่อนปล่อยตัวดำเนินการตามแนวทางของกรมควบคุมโรคพร้อมทั้งได้อบรมชี้แจงเงื่อนไขการคุมประพฤติและนำตัวติดกำไร EM รายงานตัวสำนักงานคุมประพฤติจังหวัดสุพรรณบุรี

วันที่ 24 มีนาคม 2566 ฝ่ายทัณฑปฏิบัติ ดำเนินการปล่อยตัวกรณีลดวันต้องโทษจำคุก ตามหนังสือกรมราชทัณฑ์ด่วนที่สุด จำนวน 28 ราย โดยได้อบรมชี้แจงเงื่อนไขการคุมประพฤติและนำตัวติดกำไร EM รายงานตัวสำนักงานคุมประพฤติสุพรรณบุรี

วันที่ 15 มีนาคม 2566 ฝ่ายทัณฑปฏิบัติดำเนินการจัดประชุมคณะทำงานเพื่อพิจารณาเสนอความเห็นเกี่ยวกับนักโทษเด็ดขาดที่เข้าข่ายกระทำผิดมาตรา 3 ซึ่งต้องดำเนินการตามาตรา 23 พ.ศ.2565 จำนวน 10 ราย โดยมีผู้แทนปกครองจังหวัดสุพรรณบุรี ผู้แทนสำนักงานคุมประพฤติจังหวัดสุพรรณบุรี ผู้แทนตำรวจภูธรจังหวัดสุพรรณบุรี เข้าร่วมประชุม

วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2566 ดำเนินการปล่อยตัวกรณีพักการลงโทษกรณีปกติ จำนวน 8 ราย โดยก่อนปล่อยตัวดำเนินการตามแนวทางของกรมควบคุมโรคพร้อมทั้งได้อบรมชี้แจงเงื่อนไขการคุมประพฤติและนำตัวติดกำไร EM รายงานตัวสำนักงานคุมประพฤติจังหวัดสุพรรณบุรี

วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2566 ฝ่ายทัณฑปฏิบัติ ดำเนินการประชุมพิจารณาวินิจฉัยพักการลงโทษและลดวันต้องโทษจำคุก โดยมีพันตำรวจโทชินโชติ พุฒิวรรธธาดา ผู้บัญชาการเรือนจำจังหวัดสุพรรณบุรี เป็นประธานคณะทำงาน และมีผู้แทนจากกรมการปกครอง สำนักงานคุมประพฤติ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ป.ป.ส ภาค7 เข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการพิจารณา ครั้งที่ 3/2566

เมื่อวันที่ 24 มกราคม 2566

เรือนจำจังหวัดสุพรรณบุรีได้จัดประชุมเลื่อนชั้นนักโทษเด็ดขาดงวดเดือนธันวาคม พ.ศ.2565 โดยมีพันตำรวจโทชินโชติ พุฒิวรรธธาดา ผู้บัญชาการเรือนจำจังหวัดสุพรรณบุรี เป็นประธานคณะทำงานและมีคณะทำงานอีก 12 ท่าน ในการเลื่อนชั้นนักโทษเด็ดขาดครั้งนี้ 

วันที่ 18 พฤศจิกายน 2565 ฝ่ายทัณฑปฏิบัติ ดำเนินการให้สำนักงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติดและทนายความสอบปากคำผู้ต้องขัง ผ่านจอภาพ

วันที่ 13 ธันวาคม 2565 ฝ่ายทัณฑปฏิบัติ ดำเนินการปล่อยตัวกรณีลดวันต้องโทษ จำนวน 4 ราย โดยได้อบรมชี้แจงเงื่อนไขการคุมประพฤติและนำตัวติดกำไร EM รายงานตัวสำนักงานคุมประพฤติสุพรรณบุรี

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 นายบุญหลง แก้วทองคำ เจ้าพนักงานราชทัณฑ์ชำนาญงาน หัวหน้างานทะเบียน ฝ่ายทัณฑปฏิบัติ ดำเนินการเข้าร่วมจัดรายการวิทยุ รายการ ” ยุติธรรมสร้างสุข “

วันที่ 25 มกราคม 2566 ฝ่ายทัณฑปฏิบัติ ดำเนินการปล่อยตัวกรณีลดวันต้องโทษ จำนวน 4 ราย โดยได้อบรมชี้แจงเงื่อนไขการคุมประพฤติและนำตัวติดกำไร EM รายงานตัวสำนักงานคุมประพฤติสุพรรณบุรีประชุมคณะทำงานพิจารณาพักการลงโทษกรณีปกติ และลดวันโทษ